ต้องการหรือจิตใจ สารระเหย เมื่อสูดดมเข้าไปสู่ปอด จะถูกดูดซึมไปตามกระแสโลหิต สู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อย่างรวดเร็ว และทำลายระบบต่าง ๆ รวมทั้งอวัยวะที่สำคัญ เช่น สมอง ตับ ไต หัวใจ ปอด เป็นต้น
การป้องกัน
เด็ก และเยาวชน สามารถป้องกันตนเองได้โดย หาความรู้เรื่องโทษพิษภัยของสารระเหย เพื่อป้องกันตนเอง และแนะนำผู้อื่นได้ รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น อ่านหนังสือ ช่วยกิจกรรมในบ้าน และโรงเรียน เล่นดนตรี หรือ กีฬา ปลูกต้นไม้ ฯลฯ ประพฤติดี มีคุณธรรม เพื่อประโยชน์สุขของตนเอง ครอบครัว และสังคม บิดามารดาผู้ปกครอง สำคัญ ในการป้องกันบุตรหลานโดย มีความรู้เรื่องโทษ พร้อมแนวทางการป้องกันอันตรายจากสารระเหย อบรมเลี้ยงดู บุตรหลาย ด้วยความรัก ความเข้าใจ ปลูกฝังให้ประพฤติดีมีคุณธรรม มีความเชื่อมันในตนเอง ไม่หลงตามเพื่อน เมื่อถูกชักชวนไปในทางที่ผิด ส่งเสริมให้บุตรหลานใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ควรเก็บผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของสารระเหยไว้ในที่ปลอดภัย
ข้อควรระวัง
สำหรับผู้ที่จำเป็นต้องใช้หรือทำงานเกี่ยวข้องกับสารระเหย
1.ควรใช้อย่างระวังและถูกต้องตามคำแนะนำที่ติดมากับผลิตภัณฑ์ นั้น ๆ
2. ป้องกันอย่าให้สารระเหยเข้าสู่ร่างกายโดยทางหายใจ หรือทางผิวหนัง โดยสวมหน้ากาก หรือใช้ผ้าปิดปาก ปิดจมูก และสวมเสื้อผ้าปกคลุมให้มิดชิด ขณะใช้สารระเหย
3.ขณะใช้สารระเหย ควรอยู่เหนือลม และในที่ ที่มีอากาศ ถ่ายเทสะดวก
การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ
1. ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 เว้นแต่การมีไว้ในครอบครองในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ของทางราชการตามที่ รัฐมนตรีจะอนุญาต
2.ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกยาเสพติดให้โทษในประเภท 1
3.ห้ามมิให้ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 2 เว้นแต่ได้รับใบอนุญาต
4. ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษใน ประเภท 2 ได้เมื่อปรากฎว่าผู้ขออนุญาตเป็น กระทรวง ทบวง กรม องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น รวมทั้งกรุงเทพมหานคร สภากาชาดไทย หรือองค์การเภสัชกรรม
5.ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออก ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เว้นแต่ได้รับอนุญาต
6. ผู้อนุญาตจะออกใบอนุญาตให้ผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ได้เมื่อปรากฏว่า ผู้ขออนุญาตได้รับอนุญาตให้ผลิต ขาย หรือนำหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรซึ่งยาแผนปัจจุบันตามกฎหมายว่าด้วยยา และ มีเภสัชกรอยู่ประจำตลอดเวลาทำการ
7.ในการนำเข้าหรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 ต้องได้รับใบอนุญาตทุกครั้งที่นำเข้าหรือส่งออก
ระบบการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
การ บำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หมายถึง การดำเนินงานเพื่อแก้ไขสภาพร่างกาย และจิตใจของผู้ติดยาเสพติด ให้เลิกจากการเสพ และสามารถกลับไปดำรงชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างปกติ
แบ่งเป็น 3 ระบบ ดังนี้
ขั้นตอนการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด แบ่งเป็น 4 ขั้นตอน คือ
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.การปฏิบัติการจิตวิทยา และประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดยมีแผนและสอดคล้องกับปฏิบัติการ
อื่นๆ โดยใช้กระบวนการประชาคมในการกระตุ้นและระดมพลัง
2.กำหนดพื้นที่เป้าหมายให้ชัดเจน การดำเนินการสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่โดยผสมผสานการ
ดำเนินงาน การป้องกัน แก้ไข และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมควบคู่กันไป
3. ป้องกันยาเสพติดในทุกระดับ โดยเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันในระยะยาว รณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่ระดับครอบครัวสถานศึกษา ชุมชน อย่างครบถ้วนและต่อเนื่อง
4.ให้โอกาสรับการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ จากผู้ติดยาในระบบสมัครใจตามความต้องการและความเหมาะสมของผู้ติดยา
5. การปราบปรามยาเสพติดดำเนินการกับผู้ผลิตผู้ค้า ผู้นำเข้า-ส่งออกยาเสพติด และผู้มีอิทธิพลที่สนับสนุนการกระทำความผิดโดยเฉียบขาดการเร่งรัดการดำเนิน คดีและการพิพากษาลงโทษขั้นสูงสุดที่กำหนดไว้ตามกฎหมายตลอดจนการบังคับคดีให้ เป็นไปตามคำพิพากษาโดยเคร่งครัด นอกจากนั้น ต้องจัดระบบการหาข่าวในเชิงรุก และมีมาตรการลงโทษเจ้าหน้าที่ของรัฐที่มี
พฤติกรรรม สนับสนุน คุ้มครอง ฯลฯ อย่างเฉียบขาด
6.ให้ความคุ้มครอง ขวัญกำลังใจแก่บุคคลเจ้าหน้าที่ที่ดำเนินป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
7.ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อลดปัจจัยที่เกี่ยวข้องหรือผลกระทบต่อการเพิ่มปริมาณยาเสพติดในประเทศไทย
8.พัฒนาระบบบริหารจัดการทุกด้านเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างรวดเร็ว
และทันต่อเหตุการณ์
บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย
ขั้นตอนของการดำเนินการวิจัย
งบประมาณที่ใช้ในการทำงานวิจัย
รวม 385 บาท
การบูรณาการกับ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
ได้อภิปรายกับสมาชิกในกลุ่ม ได้อ่านเอกสารต่างๆ และได้เขียนงานวิจัยโดยใช้หลักไวยากรณ์
ภาษาต่างประเทศ
ได้ทำบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
ได้คำนวณและวิเคราะห์ข้อมูลเป็นร้อยละและแสดงเป็นกราฟ
วิทยาศาสตร์
ได้ทำงานเป็นกลุ่ม การหาเหตุผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ได้ศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยโทษของยาเสพติด
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับการป้องการติดยาเสพติด
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการหาข้อมูล พิมพ์ จัดเก็บและนำเสนอข้อมูล
ศิลปะ
ได้ใช้ความรู้ด้านศิลปะในการจัดตกแต่งงานนำเสนอและรูปเล่ม
บทที่ 4
การวิเคราะห์ข้อมูล
การประเมินตนเอง
1.เนื้อหาของผลงาน
2.ความถูกต้องครบถ้วนของเนื้อหา
3.ความสวยงามของผลงาน
4.กลวิธีในการนำเสนอ
5. .ความรับผิดชอบ
6. .ความตรงต่อเวลา
7.ความรู้ที่ได้รับ
8.ความประทับใจต่อผลงาน
9.ระยะเวลาที่ใช้ในการนำเสนอ
การประเมินจากผู้ชมงาน
1.เนื้อหาของผลงาน
2.ความถูกต้องครบถ้วนของเนื้อหา
3.ความสวยงามของผลงาน
4.กลวิธีในการนำเสนอ
5. .ความรับผิดชอบ
6. .ความตรงต่อเวลา
7.ความรู้ที่ได้รับ
8.ความประทับใจต่อผลงาน
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ
งาน วิจัยเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบ ถึงดำเนินการประเมินโครงงานโดยอาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุลและ นักเรียนห้อง 6.11 จำนวน 29 คน สรุปผลได้ดังนี้
สรุปผลการวิจัยโดยอาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
1.เนื้อหาของผลงาน
2.ความถูกต้องครบถ้วนของเนื้อหา
3.ความสวยงามของผลงาน
4.กลวิธีในการนำเสนอ
5. .ความรับผิดชอบ
6. .ความตรงต่อเวลา
7.ความรู้ที่ได้รับ
8.ความประทับใจต่อผลงาน
9.ระยะเวลาที่ใช้ในการนำเสนอ
สรุปผลการวิจัยโดยนักเรียนห้อง 6.11 จำนวน 29 คน
1.เนื้อหาของผลงาน
2.ความถูกต้องครบถ้วนของเนื้อหา
3.ความสวยงามของผลงาน
4.กลวิธีในการนำเสนอ
5. .ความรับผิดชอบ
6. .ความตรงต่อเวลา
7.ความรู้ที่ได้รับ
8.ความประทับใจต่อผลงาน
วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น